Page 79 - ท้องถิ่นอินเตอร์
P. 79
ั
มินท์ฐิตาวางแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์คร้งน ้ ี 077
ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
�
ื
1. กลุ่มสินค้าเคร่องประดับ โดยแนะนาให้ทาตัวเรือน
�
ี
ื
เป็นแหวนโลหะท่สามารถปรับขนาดได้ เพ่อไม่ต้องกังวล
เรื่องการสต็อกแหวนหลายขนาด จากนั้นตกแต่งตัวเรือน
ี
ด้านบนด้วยนิลหลายสไตล์ ทาให้เกิดดีไซน์ท่แตกต่าง
�
2. คลิปหนีบพระ โยงความเช่อความศรัทธาด้านการ
ื
ุ
ิ
ื
ั
ปกป้องค้มภยมาออกแบบคลปสาหรับหนีบพระเคร่อง
�
ี
และประดับด้วยนิลเจียระไนให้เป็นสินค้าท่มีคุณค่าทางใจ
ขยายกลุ่มเป้าหมายสู่วัยรุ่น-วัยท�างาน ที่มีความเชื่อเรื่อง
ิ
�
ส่งมงคล หรือจะทาเป็นคลิปหนีบเน็กไทก็ได้
�
�
�
ี
3. นิล 12 นักษัตร นานิลไปทาเป็นจ้รูปนักษัตรสาหรับ
ใส่สร้อยคอ ไม่ว่าลูกค้าจะเกิดปีไหน หรืออยากแก้ชงปีใด
ก็สามารถเลือกช้นงานท่เหมาะกับตัวเองได้
ิ
ี
�
4. ประดับของใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น นานิลไปพัฒนา
�
เป็นกระดุมสาหรับติดกระเป๋าใส่เหรียญ หรือติดบัตร
�
ื
ั
พนักงานคล้องคอ เพ่อเสริมดวงความม่นคงในอาชีพ ฯลฯ
ั
ั
่
ื
ิ
ื
5. นลกบต้นไม้ เพอให้สอดรบกบไลฟ์สไตล์คนเมอง
ั
ี
ปัจจุบันท่นิยมปลูกต้นไม้ในบ้าน เราสามารถหล่อผงนิล
ให้เป็นกระถาง พร้อมออกแบบของตกแต่งกระถางจาก
นิลเพ่อเสริมมงคลให้กับท่พักอาศัย
ี
ื
“ส่งสาคัญคือการศึกษาความต้องการของนักท่องเท่ยว
ี
�
ิ
ว่าเขาชอบสินค้าประเภทใด ใช้ชีวิตแบบไหน ฯลฯ
�
จากน้นจึงค่อยนานิลเข้าไปสอดแทรกในสินค้าน้น
ั
ั
ื
ื
และให้เติมเร่องความเช่อความศรัทธาลงไปด้วย เช่น
ี
นิลประดับตกแต่งหมอนอิงหรือกระเป๋าผ้าท่มีกราฟิก
ี
ลายปลาย่สก (สัญลักษณ์ของจังหวัดกาญจนบุรี)
ชุมชนอย่าไปตีกรอบว่านิลจะต้องเป็นเคร่องประดับ
ื
อย่างเดียว ควรเปิดโอกาสในการขยายสินค้าไปสู่
ื
ไลฟ์สไตล์อ่นๆ ด้วย” มินท์ฐิตากล่าว