Page 27 - ท้องถิ่นอินเตอร์
P. 27
ี
ิ
แล้วเราจะหาอัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่นท่เหมาะสมได้อย่างไร
ื
�
จากประสบการณ์ผมเช่อว่า เราสามารถทาได้ด้วยวิธีต่อไปน ี ้ 025
ถามให้ได้เรอง เล่าให้ได้ความ
ื
่
�
ี
เป็นแนวทางการสารวจข้อมูลท่ชุมชนมีแต้มต่ออยู่เยอะ เพราะคุ้นเคย
ื
�
กับพ้นที่อยู่แล้ว แต่จะยากหน่อยสาหรับนักออกแบบหรือผู้ประกอบการ
ี
ท่มาจากนอกพ้นท่ เพราะอาจไม่คุ้นเคยกับวิถีชีวิตของชุมชน การพูดคุย
ี
ื
ื
ื
ี
ี
ี
สอบถามในลักษณะน้เป็นการสอบถามคนในพ้นท่เพ่อสารวจหาส่งท่น่า
ิ
�
สนใจจากตัวตนของพวกเขา พร้อมเปิดโอกาสให้ชาวบ้านถ่ายทอดเร่อง
ื
ั
ิ
ราวองค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถ่นน้นๆ
ั
ี
ในข้นน้ ตัวแทนชุมชนหรือนักออกแบบอย่ารีบด่วนสรุปว่าภูมิปัญญาของ
ื
ี
ทุกๆ พ้นท่จะมีความเหมือนกัน เพราะแต่ละชุมชนอาจมีเคล็ดลับ
ี
�
ี
ในบางจุดท่สามารถนามาสร้างอัตลักษณ์ท่โดดเด่นได้ เช่น กระบวนการ
เตรียมเส้นด้ายของผ้าทอมืออ่างศิลา หรือผ้าทอคุณย่าท่านจากชุมชน
ื
บ้านปึก จังหวัดชลบุรี ท่นาข้าวสุกมาขยากับเส้นด้ายเพ่อให้สีย้อม
ี
�
�
ื
ุ่
คงความสดใส เน้อผ้านมทนทาน โดยมีลวดลายงานทอเป็นลายไส้ปลาไหล
ลายนกกระทา และลายดอกพิกุล ถือเป็นอัตลักษณ์งานทอผ้าอันโดดเด่น
ของบ้านปึกท่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นมากว่า 100 ปี เป็นต้น
ี
-
ู
ผ้สอบถามต้องสรุปประเด็น
�
ให้ถูกต้องแม่นยา
โดยตรวจสอบความเข้าใจ
กับเจ้าของทักษะงานฝีมือน้นให้ด
ี
ั
เพ่อจะนาเร่องราวไปต่อยอด
ื
ื
�
ี
สร้างคุณค่าได้ไม่ผิดเพ้ยน
-
ิ
ี
�
ิ
อย่าลืมว่า ย่งเราได้คาตอบท่ลงลึกถึงรายละเอียดมากเท่าไหร่ ก็ย่ง
ึ
�
จะทาให้เราเข้าใจทักษะภูมิปัญญาของชุมชนมากข้นเท่าน้น ท่สาคัญ
ี
�
ั
เราสามารถนาเร่องราวเหล่าน้มาสร้าง “คุณค่า” ให้กับแบรนด์ชุมชนได้
ื
ี
�
ี
ื
ึ
ื
ในหลายมิติ อาทิ จากผ้าทอหน่งผืนท่ดูธรรมดาๆ เม่อเติมเร่องราวเบ้อง
ื
ี
ั
หลังการผลิตลงไปก็กลายเป็นผ้าทอท่ใส่ใจในทุกรายละเอียด ต้งแต่
กระบวนการเตรียมเส้นด้ายให้มีคุณภาพ ลวดลายท่ส่อถึงวัฒนธรรม
ื
ี
ิ
พ้นถ่น และเป็นมรดกงานฝีมือท่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น
ี
ื