Page 35 - ท้องถิ่นอินเตอร์
P. 35
033
งานออกแบบตราสัญลักษณ์และบรรจุภัณฑ ์
โดย : พลอย ลุมทอง
นักออกแบบเจ้าของบริษัท C’est Design
ี
ในมุมมองของชาวชุมชน วิถีชีวิตท่รายล้อมรอบตัวอาจดูเป็น
ื
ี
�
ิ
ื
เร่องธรรมดา แต่สาหรับนักท่องเท่ยวแล้ว ส่งเหล่าน้นคือเร่อง
ั
ี
แปลกใหม่ท่เขาสนใจ ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการทอผ้า งานจักสาน
�
ิ
ั
ื
ข้าวของเคร่องใช้ หรือแม้กระท่งการนาวัตถุดิบท้องถ่นมา
ึ
ั
ิ
ปรุงอาหาร ดังน้น การต่อยอดอัตลักษณ์ท้องถ่นข้นจากวิถีชีวิต
ั
ึ
ี
ี
รอบตัวน้ จึงเป็นหน่งหนทางท่ช่วยสร้างความย่งยืนให้กับชุมชนได้
พลอย ลุมทอง กล่าวว่า “การหยิบภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนาเป็นสินค้า งานบริการ และบรรจุภัณฑ์
�
�
ื
ิ
ก็ไม่ใช่เร่องง่ายเสมอไป โดยเฉพาะในช่วงเร่มต้นพัฒนา หลายท่านอาจโดนวิจารณ์ว่าทาไปทาไม
ี
ิ
ี
ไม่เห็นจะเท่เลย แต่ในความเป็นจริง ภูมิปัญญาท้องถ่นท่ส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่นมีข้อดีท่เลียนแบบ
ี
ยาก เป็นอัตลักษณ์ท่ชุมชนควรภาคภูมิ คนท่มีหัวธุรกิจจะเห็นโอกาสการสร้างมูลค่าจากภูมิปัญญา
ี
ั
เหล่าน้ รวมถึงสร้างความย่งยืนให้กับชุมชนไปพร้อมกัน”
ี
• ความแตกต่างสร้างอัตลักษณ ์
ี
ื
ิ
การลงพ้นท่พูดคุยกับตัวแทนชุมชนและการศึกษาข้อมูลเพ่มเติม
ี
จากหนังสือและสื่อออนไลน์ คือหัวใจท่พลอย ลุมทอง ให้ความ
�
�
สาคัญมาก เพราะน่นคือข้อมูลท่สามารถนาไปต่อยอดพัฒนาเป็น
ั
ี
ตราสญลักษณ์ งานออกแบบบรรจุภณฑ์ รวมไปถึงสินค้าและ
ั
ั
งานบริการ เธอบอกว่า “หัวใจในการค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนอยู่ท ่ ี
ี
การค้นหาจุดเด่นและองค์ประกอบท่นาไปต่อยอดเป็นธุรกิจ
�
ี
ื
ี
ั
ี
�
ท่ย่งยืนได้ สาหรับชุมชนท่มีอัตลักษณ์แตกต่างจากท่อ่นอยู่แล้ว
การต่อยอดพัฒนาสินค้าและบริการก็ไม่ยากนัก แต่ในบางชุมชน
ี
ิ
ท่มีภูมิปัญญาท้องถ่นใกล้เคียงกัน เช่น มีอาหารทะเลขายเหมือนกัน
�
ื
มีงานจักสานรูปแบบเดียวกัน ก็จาเป็นต้องใช้ ‘เร่องราววิถีชีวิตชุมชน’
ิ
มาช่วยเพ่มความโดดเด่น เพ่อให้ลูกค้าจดจาเราได้”
�
ื