Page 45 - ท้องถิ่นอินเตอร์
P. 45
• ภูลังกา • 043
จิรวัฒน์ยกตัวอย่างสินค้าท่เขาออกแบบให้ชุมชนบ้านปาง
ี
่
ิ
ั
ค่าใต้ จังหวดพะเยา มาเป็นกรณศกษา โดยเรมจากการ
ี
ึ
นาอัตลักษณ์งานปักผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์เย้าหรืออ้วเม่ยน
ี
�
ิ
ี
ท่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “ราชินีแห่งงานผ้าปัก” มาเป็นหัวใจ
ิ
ในการพัฒนาสินค้าจากภูมิปัญญาท้องถ่น จิรวัฒน์เล่าว่า
�
อันดับแรกคือเขาได้นาลายปักผ้ามาสร้างเป็นตราสัญลักษณ์
“ภูลังกา” เพอสร้างภาพจาให้กับชุมชน ส่วนเร่องการสร้างสรรค์
่
�
ื
ื
สินค้าผ้าทอ เขาแบ่งแนวทางการพัฒนาออกเป็น 3 กลุ่ม ดังน ี ้
ื
�
ั
ั
1. กลุ่มเส้อผ้า ไม่จาเป็นต้องปักผ้าไปท่วท้งชุด แต่ให้เน้น
�
การนาลายปักมาจัดวางองค์ประกอบอย่างเหมาะสม ไม่เยอะ
จนเกินไป แนวทางน้นอกจากจะช่วยย่นระยะเวลาในงาน
ี
ื
�
ี
ปักแล้ว ยังทาให้เส้อผ้ามีลุคท่ทันสมัย สามารถใช้สวมใส่
�
ได้จริงในชีวิตประจาวัน
�
ั
2. กลุ่มสินค้าเคร่องประดบ เราสามารถนางานปักขนาดเล็กๆ
ื
�
มาผสมผสานในเคร่องประดับ เช่น ต่างหู สร้อย กาไล ฯลฯ
ื
เพ่อทาให้ช้นงานมีความแตกต่างจากเคร่องประดับท่วไป
ื
ื
�
ิ
ั
ในท้องตลาด
3. กลุ่มสินค้าสมัยใหม่ นาวิถีชีวิตของนักท่องเท่ยวทนยมใช้
�
ี
่
ี
ิ
สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต กล้องถ่ายรูป ฯลฯ มาออกแบบ
เป็นสินค้าร่วมสมัย เช่น เคส ถุงผ้าขนาดเล็ก สายคล้อง
่
ี
กล้อง โดยนางานปักผ้ามาจัดวางในตาแหน่งทเหมาะสม
�
�
ั
�
ั
ิ
ดูทันสมัย ไม่จาเป็นต้องปักไปท่วท้งช้นงาน
ุ่
�
4. กลมสินค้าตกแต่งบ้าน นางานปักผ้าไปจัดวางองค์ประกอบ
ี
�
บนหมอนอิง หมอนหนุน หรือของแต่งบ้านท่ทาจากผ้า