Page 51 - ท้องถิ่นอินเตอร์
P. 51
ี
• แนวทางการจัดทริปท่องเท่ยว
049
ั
ี
ไม่ว่าตารางการท่องเท่ยวชุมชนจะเป็นแบบส้นๆ ไปเช้า เย็นกลับ หรือเป็นแบบพักค้างคืนในโฮมสเตย์
ั
ิ
ั
่
ี
ั
�
ั
การออกแบบทรปเดินทางให้ลงตว คือหวใจสาคญในการสร้างความประทับใจให้นกท่องเทยว
ซ่งในฐานะผู้เชี่ยวชาญการออกแบบทริปท่องเท่ยว สมศักด์แนะนาให้แบ่งแนวคิดออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
ี
ึ
ิ
�
1. การออกแบบเส้นทางการท่องเท่ยว คือการจัดลาดับความน่าสนใจภายในชุมชนไว้เป็นเส้นทาง
�
ี
ั
ี
ต้งแต่เช้ายันเย็น รวมไปถึงการนอนพักค้างคืนภายในโฮมสเตย์ (ในกรณีท่เป็นทริปแบบค้างคืน)
ั
�
อาจเป็นการเชอมต่อวถชวต ประเพณ วฒนธรรม การทาอาหาร แหล่งท่องเทยวธรรมชาต ฯลฯ
ิ
ี
่
ี
ื
่
ิ
ิ
ี
ี
ั
ิ
ี
ื
ท่ส่อให้เห็นถึงอัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถ่นของชุมชนน้น
2. การออกแบบประสบการณ์ คือการให้ความ
่
ื
�
ั
สาคญกบอารมณ์ของนกท่องเทยว เพอสร้าง
ั
่
ี
ั
ึ
ความรู้สึกเชิงบวกให้เกดข้นตลอดการเดินทาง
ิ
�
โดยการออกแบบท้ง 2 ส่วนน้จะทางานร่วมกันโดยมีตัวแทนชุมชน
ั
ี
ี
ี
ทาหน้าท่สังเกตพฤติกรรมและความรู้สึกของนักท่องเท่ยว
�
ี
ในระหว่างการเดินทาง เช่น หลังจากนักท่องเท่ยวพักทานอาหาร
ี
กลางวัน จุดเดินทางต่อไปจะต้องไม่เป็นเส้นทางท่ยาวจนเกินไป
เพราะอากาศท่ร้อนในช่วงบ่ายอาจทาให้นักท่องเท่ยวเสียพลังงาน
ี
ี
�
และเหน่อยง่าย หรือกิจกรรมแบบน่งอยู่กับท่โดยไม่มีการเคล่อนไหว
ื
ี
ั
ื
ี
ั
�
มากก็อาจทาให้นักท่องเท่ยวหลับได้ ดังน้น กิจกรรมหลังอาหาร
ื
กลางวันควรเป็นกิจกรรมท่สร้างความต่นเต้นในระดับหน่ง
ึ
ี
ี
ี
�
โดยใช้เวลาการเดินทางท่ส้น หรือเป็นกิจกรรมท่ทาให้นักท่องเท่ยว
ั
ี
ี
รู้สึกผ่อนคลายในจังหวะท่พอเหมาะ ไม่หักโหมเกินไป
ี
แต่ท่เหนือไปกว่าการออกแบบเส้นทางท่องเท่ยวและประสบการณ์
ี
ระหว่างทาง ก็คือการสร้างมาตรฐานด้านความสะอาด ความปลอดภัย
และการสอดแทรกอัตลักษณ์ท้องถ่นเข้าไปในกิจกรรมต่างๆ เพ่อดึง
ื
ิ
ความโดดเด่นของชุมชนข้นมา เช่น ทริปล่องเรือทบ้านท่าขันทอง
ึ
ี
่
ึ
ี
จังหวัดเชียงราย ซ่งเป็นชุมชนชาวอีสานท่อพยพมาทางภาคเหนือ
�
ั
้
พวกเขาออกแบบกิจกรรมน่งเรือชมวิถีชีวิตริมน�าโขง โดยนา
“เพลงหมอลา” ของชาวอีสานมาขับกล่อมระหว่างทางด้วย นับเป็น
�
การสอดแทรกอัตลักษณ์ชุมชนเข้ากับการท่องเท่ยวแบบมาตรฐาน
ี
ช่วยสร้างประสบการณ์แปลกใหม่ให้นักท่องเท่ยวได้เป็นอย่างด ี
ี